ตอนนี้จอรุ่นใหม่สัดส่วน 16:10 นั้น กำลังจะเริ่มหันมาเปลี่ยนเป็นใช้ดีไซน์แบบใหม่แล้ว ซึ่งจะตัดแผงวงจร pcb ที่ยื่นลงมาด้านล่างออกไป ทำให้สามารถดีไซน์ตัวกรอบหน้าจอให้มีความบางลง ลทำให้ในแง่ของการเปลี่ยนอะไหล่หน้าจอ หรือการอัปเกรดหน้าจอนั้น จะทำได้ยากขึ้น และตัวเลือกอะไหล่ทดแทนในอนาคตจะน้อยลงอย่างแน่นอน
OLED เทคโนโลยีจอภาพที่น่าใช้ แต่อาจจะยังไม่เหมาะกับทุกคนนัก
OLED นั้น แม้จะฟังแล้วดูเป็นเทคโนโลยีจอภาพที่ทุกคนน่าจะชื่นชอบและติดใจความสวยงามและคอนทราสของมัน แต่มันก็อาจจะยังไม่ใช่เทคโนโลยีจอภาพที่เหมาะกับทุกคนนัก โดยเรายกตัวอย่างออกเป็น 2 ข้อ ดังต่อไปนี้…
ค้นหางานไม่เจอ? แนะนำโปรแกรม Search Everything ที่ค้นหาเจอได้ทุกไฟล์ในเครื่อง
คุณกำลังประสบปัญหากับการหลงลืมว่าเคยเซฟงานไว้ที่โฟลเดอร์ไหนสักแห่งแล้วดันหามันไม่เจออีกหรือเปล่า? หรือแม้แต่ช่อง Type here to search ของ Windows เองก็หาไฟล์ให้เราไม่เจอเหมือนกัน บทความนี้เราจะมาแนะนำซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ชีวิตคุณง่ายขึ้นมาก กับ “Search Everything” ที่มันสามารถขุดหาทุกไฟล์ในเครื่องได้ถึงยันรากเหง้าเลยทีเดียว
GUIDE: อยากเปลี่ยนจอโน้ตบุ๊ก ต้องเช็คอะไรก่อนบ้าง?
เราจะรู้ได้อย่างไรว่า โน้ตบุ๊กรุ่นไหน รองรับจอได้ถึงตัวไหนบ้าง? บทความนี้เรามีคำตอบให้ครับ
ทำไมเราถึงต้องใช้หน้าจอที่ขอบเขตสีกว้าง แม้งานของเราจะครอบคลุมเพียงแค่ sRGB เท่านั้น?
ในปัจจุบันถ้าเป็นในฝั่งของจอมอนิเตอร์ หรือจอคอมพ์ตั้งโต๊ะนั้น ส่วนใหญ่แล้วหน้าจอจะแสดงสีได้ครอบคลุม sRGB ทั้งหมดแล้ว เรียกได้ว่ามาตรฐาน sRGB นั้นเป็นขอบเขตสีมาตรฐาน “ขั้นต่ำ” ที่หน้าจอควรจะต้องแสดงได้ แต่พอเป็นในฝั่งของจอโน้ตบุ๊กนั้น กลับเป็นอีกเรื่องไปเลย เพราะเราจะเห็นได้ว่า จอของโน้ตบุ๊กเกินกว่าครึ่งที่มีขายอยู่ในตลาดนั้น เป็นหน้าจอที่ยังไม่สามารถแสดงสีได้ครอบคลุมถึง sRGB เลยด้วยซ้ำ (หรือที่เรียกกันว่าจอ 62% sRGB นั่นเอง )
EC (Embedded Controller) รูที่ควรมีทุกเครื่อง
โน้ตบุ๊กบางยี่ห้ออย่าง MSI หรือ ACER เคยสังเกตุกันมั้ยว่า ที่ใต้ฝาเครื่องด้านล่างนั่น จะมีรูนึงที่พร้อมสัญญลักษณ์ที่สังเกตุดี ๆ จะเป็นรูปแบตเตอรี่ตัวเล็ก ๆ กำกับไว้ รูนี้ไม่ใช่รูปู แต่มันคือรู EC (Embedded Controller)
ตัวอย่างพื้นที่การแสดงสีสันของหน้าจอในแต่ละขอบเขตสี
หลายคนอาจจะยังไม่รู้มาก่อนว่า พวกค่าสี sRGB, AdobeRGB, DCI-P3 มันคืออะไร วันนี้เราทำรูปตัวอย่างมาให้ดูกันครับ ถ้าให้อธิบายอย่างง่าย ๆ เลยก็คือ เวลาที่เราจะพูดถึงระดับความสามารถในการแสดงสีของหน้าจอนั้น เราจะใช้ขอบเขตสีต่าง ๆ เป็นตัวช่วยอธิบาย เพื่อให้เห็นภาพว่า หน้าจอนั้น ๆ สามารถแสดงสีสันได้ที่ระดับหรือมาตรฐานใด
2K 100% DCI-P3 [PANTONE Validated] ยังจำเป็นต้องคาลิเบรตอีกหรือไม่
เมื่อเราพูดถึงจอที่สีตรง สิ่งที่เราต้องการจริง ๆ ไม่ใช่แค่สติ๊กเกอร์ Validation เท่านั้น แต่คือผลทดสอบ เอกสาร หรือตัวเลขการวัดค่าต่าง ๆ ออกมาให้เราดู เพื่อใช้ยืนยันผล หรืออย่างน้อยให้เรามั่นใจว่า โอเค หน้าจอที่ออกมาจากโรงงานนั้น อยู่ในเกณฑ์ไหน จำเป็นจะต้องคาลิเบรตซ้ำหรือไม่
ไขข้อสงสัย | ค่าสีและความสว่างของหน้าจอมีส่วนที่ทำให้ตัวเครื่อง ต้องประมวลผลมากขึ้นหรือไม่?
หลายคนอาจกำลังกังวลว่า หากทำการอัปเกรดหน้าจอใหม่กับทาง RIPS COMP ที่จะทำให้หน้าจอนั้นแสดงผลของค่าสีและความสว่างที่สูงกว่าเดิม จะทำให้ตัวเครื่องทำงานหนักกว่าเดิมหรือเปล่า เราขอยืนยันเลยว่า
จะรู้ได้อย่างไรว่าจอของทาง RIPS COMP “ดีกว่า” หรือแตกต่างกว่าอย่างชัดเจน (เมื่อเทียบกับร้านซ่อมทั่วไป)
เป็นอีกหนึ่งคำถามที่ challenge เรามาก ๆ ในการตอบคำถามนี้ แต่เราเองก็สามารถตอบคำถามนี้กับลูกค้าได้อย่างมั่นใจ โดยเราจะขอแยกคำตอบเป็นสองข้อ ดังต่อไปนี้