How to เปลี่ยนจอโน๊ตบุ๊คด้วยตัวเอง ถ้าจอแตก! หรืออยากอัพเกรดจอให้สเปคดีขึ้น วันนี้มาแนะนำการเปลี่ยนจอโน๊ตบุ๊คด้วยตัวเอง
การอัปเกรดหน้าจอโน้ตบุ๊ก ขนาด 16 นิ้ว (ในอนาคต) จะทำได้ยากขึ้น และตัวเลือกอะไหล่ทดแทนจะน้อยลง
ตอนนี้จอรุ่นใหม่สัดส่วน 16:10 นั้น กำลังจะเริ่มหันมาเปลี่ยนเป็นใช้ดีไซน์แบบใหม่แล้ว ซึ่งจะตัดแผงวงจร pcb ที่ยื่นลงมาด้านล่างออกไป ทำให้สามารถดีไซน์ตัวกรอบหน้าจอให้มีความบางลง ลทำให้ในแง่ของการเปลี่ยนอะไหล่หน้าจอ หรือการอัปเกรดหน้าจอนั้น จะทำได้ยากขึ้น และตัวเลือกอะไหล่ทดแทนในอนาคตจะน้อยลงอย่างแน่นอน
ทำไมเวลาที่ทำ calibrate หน้าจอแล้วได้เปอร์เซ็นต์ตัวเลขน้อยลงกว่าที่ผู้ผลิตเคลมไว้
เคยสงสัยกันมั้ยว่า ทำไมหน้าจอที่ผู้ผลิตเคลมไว้ว่า จอตัวนั้น ๆ มีค่าขอบเขตสีที่ 100% sRGB แต่เมื่อเราใช้เครื่องมืออย่าง colorimeter มาวัดแล้ว กลับได้ไม่ถึงตามที่เคลมไว้ ตัวเลขมีการลดลง มันเกิดอะไรขึ้น บทความนี้เรามีคำตอบครับ
REVIEW จอมอนิเตอร์ IPASON E2728S-M จอ 2K HDR 165Hz ขอบเขตสี 100% sRGB
IPASON E2728S-M เป็นจอพาเนล IPS ขนาด 27 นิ้ว ความละเอียด 2K (2560×1440) พร้อม Refresh Rate 165Hz รุ่นใหม่จากทาง DEVA IPASON ที่ได้ส่งตัวจอมาให้ทาง RIPS COMP ได้ทำการรีวิว ด้วยค่าตัวเพียง 6,980 บาท จะเป็นยังไงบ้าง บทความนี้เราจะพาไปเจาะลึกกันครับ
GUIDE: อยากเปลี่ยนจอโน้ตบุ๊ก ต้องเช็คอะไรก่อนบ้าง?
เราจะรู้ได้อย่างไรว่า โน้ตบุ๊กรุ่นไหน รองรับจอได้ถึงตัวไหนบ้าง? บทความนี้เรามีคำตอบให้ครับ
REVIEW จอมอนิเตอร์ IPASON E2728U-Z จอ 4K UHD IPS ที่คุ้มค่าที่สุดในราคาไม่เกินหกพันบาท
IPASON E2728U-Z จอมอนิเตอร์ขนาด 27 นิ้วจากทาง DEVA IPASON ที่ได้ทั้งความละเอียดสูงถึง 4K UHD พาเนล IPS เกรดดี และแสดงสีสันได้กว้างระดับ Wide gamut นับว่าเป็นหนึ่งในจอมอนิเตอร์ที่น่าจับตามองที่สุดในตลาดไทย ณ เวลานี้ ด้วยราคาค่าตัวเพียง 5,980 บาท เท่านั้น
EC (Embedded Controller) รูที่ควรมีทุกเครื่อง
โน้ตบุ๊กบางยี่ห้ออย่าง MSI หรือ ACER เคยสังเกตุกันมั้ยว่า ที่ใต้ฝาเครื่องด้านล่างนั่น จะมีรูนึงที่พร้อมสัญญลักษณ์ที่สังเกตุดี ๆ จะเป็นรูปแบตเตอรี่ตัวเล็ก ๆ กำกับไว้ รูนี้ไม่ใช่รูปู แต่มันคือรู EC (Embedded Controller)
เปลี่ยนจอโน้ตบุ๊ก หรือซื้อจอแยก?
“เปลี่ยนจอโน้ตบุ๊ก หรือซื้อจอแยก” เชื่อว่าความคิดนี้จะต้องแว้บเข้ามาในหัวของทุกคนเป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว ไม่ว่าโน้ตบุ๊กจะหน้าจอเสีย จอแตก หรือจอโน้ตบุ๊กแสดงสีได้แย่ก็ตาม
ทั้งสองตัวเลือกที่เรายกมานี้ มีทั้งข้อดีและข้อเสีย อยู่ที่ว่าคุณจะให้น้ำหนักกับข้อใดมากกว่ากัน และมันจะต้องตรงตามไลฟ์สไตล์ของคุณมากที่สุด
ตัวอย่างพื้นที่การแสดงสีสันของหน้าจอในแต่ละขอบเขตสี
หลายคนอาจจะยังไม่รู้มาก่อนว่า พวกค่าสี sRGB, AdobeRGB, DCI-P3 มันคืออะไร วันนี้เราทำรูปตัวอย่างมาให้ดูกันครับ ถ้าให้อธิบายอย่างง่าย ๆ เลยก็คือ เวลาที่เราจะพูดถึงระดับความสามารถในการแสดงสีของหน้าจอนั้น เราจะใช้ขอบเขตสีต่าง ๆ เป็นตัวช่วยอธิบาย เพื่อให้เห็นภาพว่า หน้าจอนั้น ๆ สามารถแสดงสีสันได้ที่ระดับหรือมาตรฐานใด
2K 100% DCI-P3 [PANTONE Validated] ยังจำเป็นต้องคาลิเบรตอีกหรือไม่
เมื่อเราพูดถึงจอที่สีตรง สิ่งที่เราต้องการจริง ๆ ไม่ใช่แค่สติ๊กเกอร์ Validation เท่านั้น แต่คือผลทดสอบ เอกสาร หรือตัวเลขการวัดค่าต่าง ๆ ออกมาให้เราดู เพื่อใช้ยืนยันผล หรืออย่างน้อยให้เรามั่นใจว่า โอเค หน้าจอที่ออกมาจากโรงงานนั้น อยู่ในเกณฑ์ไหน จำเป็นจะต้องคาลิเบรตซ้ำหรือไม่